HDPE Geomembrane

HDPE Geomembrane

HDPE Geomembrane ของเรา ผลิตมาจากเม็ดพลาสติกนำเข้าเกรดพรีเมียม ผลิตโดยเครื่องจักรอันทันสมัยจากยุโรป ที่มาพร้อมเทคโนโลยีควบคุมการผลิตที่มีประสิทธิภาพ 

นอกจากนี้ VSC ยังมีห้องปฎิบัติการ (Research & Development Center) ในการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพของสินค้าตั้งแต่ระหว่างกระบวนการรับเม็ดวัตถุดิบ ระหว่างการผลิต ไปจนถึงตรวจคุณภาพก่อนส่งให้ลูกค้า จึงทำให้ผลิตภัณฑ์ของ VSC บรรลุมาตรฐานสากลทั้ง GRI-GM13 ของแผ่น HDPE และ GRI-GM17 ของแผ่น LLDPE 

Mechanical Properties: HDPE Geomembrane

Tested Property

Test Method

Standard Values

VSC050

VSC075

VSC100

VSC125

VSC150

VSC180

VSC200

Thickness, mm

Minimum average values

Lowest individual reading

ASTM D 5199

 

0.50

0.47

 

0.75

0.70

 

1.00

0.90

 

1.25

1.20

 

1.50

1.40

 

1.80

1.70

 

2.00

1.90

Density, g/cm³

ASTM D 792

≥0.94

≥0.94

≥0.94

≥0.94

≥0.94

≥0.94

≥0.94

Tensile Properties

(each direction)

Strength at Break, kN/m

Strength at Yield, kN/m

Elongation at Break, %

Elongation at Yield, %

ASTM D 6693

Type IV

 

 

 

 

14

9

700

13

 

 

25

13

700

13

 

 

35

18

700

13

 

 

40

20

700

13

 

 

50

26

700

13

 

 

53

29

700

13

 

 

67

37

700

13

Tear Resistance, N

ASTM D 1004

75

110

160

190

240

270

290

Puncture Resistance, N

ASTM D 4833

200

340

430

500

590

630

670

Carbon Black Content, %

ASTM D 1603

2.0-3.0

2.0-3.0

2.0-3.0

2.0-3.0

2.0-3.0

2.0-3.0

2.0-3.0

Carbon Black Dispersion

ASTM D 5596

Cat.1 Cat.2

Cat.1 Cat.2

Cat.1 Cat.2

Cat.1 Cat.2

Cat.1 Cat.2

Cat.1 Cat.2

Cat.1 Cat.2

Oxidative Induction Time, minutes

ASTM D 3895,

200° C: O2, 1atm

>140

>140

>140

>140

>140

>140

>140

 

 

  Typical Roll Dimensions

Roll length, meter

280

280

210

168

140

117

105

Roll width, meter

7.0

7.0

7.0

7.0

7.0

7.0

7.0

Roll area, m²

1960

1960

1470

1176

980

819

735

ประเภทการใช้งาน :
  • งานชลประทานและบ่อเก็บน้ำรถไฟ
  • สระน้ำและทะเลสาบ
  • งานโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ
  • งานเขื่อน
  • บ่อขยะที่เป็นพิษ
  • โรงไฟฟ้า
  • บ่อบำบัดน้ำเสีย
  • บ่อไบโอแก๊ส
  • บ่อเก็บขยะ
  • บ่อเกลือ
  • งานเลี้ยงสัตว์น้ำใต้ดิน, ชั้นใต้ดิน
  • งานเหมืองแร่
  • บ่อคอนกรีต

 

 คุณสมบัติและประโยชน์:
  • ทนทานต่อรังสีอัลตราไวโอเล็ต และความร้อน
  • มีความแข็งแรงและทนทานสูงในทุกสภาพอากาศ
  • ทนทานต่อสารเคมีชนิดต่างๆ
  • ทนต่อการฉีกขาดและแรงเจาะทะลุได้เป็นอย่างดี
  • ป้องกันการซึมผ่านของน้ำและของเหลวต่างๆ
  • รอยเชื่อมแผ่นมีความแข็งแรงสูงไม่ต่างจากแผ่นชีท เชื่อมได้ง่าย 
  • คุณสมบัติความแข็งแรงได้รับมาตรฐานคุณภาพสากล GRI GM-13
  • รับประกันอายุการใช้งาน
  • ต้นทุนต่ำเมื่อเทียบกับอายุและประโยชน์จากการใช้งาน

Geotextile คือแผ่นใยสังเคราะห์ที่มีความทนทานสูง, มีคุณสมบัติน้ำซึมผ่านได้, มีลักษณะผืนใหญ่ แต่น้ำหนักเบา นิยมใช้ในงานด้านสิ่งแวดล้อม, วิศวกรรมโยธา, การเกษตร, และการปรับปรุงภูมิทัศน์

วัสดุที่ใช้ทำ geotextile ส่วนใหญ่ มักจะเป็น polyester (PET) หรือ polypropylene (PP) โดยทั่วไป แผ่นใยสังเคราะห์ ( Geotextile ) จะนิยมถูกผลิตใน 2 รูปแบบ คือ

  1. แผ่นใยสังเคราะห์แบบถักทอ (Woven Geotextile) 
  2. แผ่นใยสังเคราะห์แบบไม่ถักทอ (Non-Woven Geotextile)

ด้วยกรรมวิธีการผลิตแบบเข็มบดอัด (Needle punch) สามารถรับแรงดึงได้สูง ยืดหยุ่นตัวสูง ฉีกขาดยาก และสามารถระบายน้ำได้ดี

 

หน้าที่ของ Geotextile

1. การกรอง (filtration)
เนื่องจากน้ำสามารถซึมผ่านได้ geotextile จึงถูกใช้ในการกรอง เช่น การกรองดินไม่ให้ผ่านไปยังบริเวณอื่น ในขณะที่น้ำและความชื้นยังสามารถผ่านได้

2. การแยกชั้น (separation)
Geotextile มักถูกใช้ในการแยกชั้นระหว่าง 2 สิ่ง เช่น ชั้นหินและชั้นดิน หรือชั้นดินที่มีลักษณะต่างกัน เป็นต้น

3. การระบาย (drainage)
Geotextile ยังถูกใช้ในการระบายน้ำหรือแก๊ส โดยมักถูกใช้ร่วมกับอุปกรณ์อื่น เช่น แกนระบายน้ำ (drainage core) และท่อเจาะรู (perforated pipe)

4. การปกป้อง (protection)
Geotextile ยังถูกใช้ในการปกป้องวัสดุอื่นๆได้ดี เช่น แผ่น geomembrane หรือแผ่นคอนกรีต

5. การเสริมความแข็งแรง (reinforcement)
การเสริมความแข็งแรงให้กับสิ่งอื่น เช่น ชั้นดิน ด้วยการเพิ่มความสามารถในการรับน้ำหนัก หรือช่วยดูดซับแรงเสียดทานในจุดที่เกิดการเสียดสีได้

Geotextile คือแผ่นใยสังเคราะห์ที่มีความทนทานสูง, มีคุณสมบัติน้ำซึมผ่านได้, มีลักษณะผืนใหญ่ แต่น้ำหนักเบา นิยมใช้ในงานด้านสิ่งแวดล้อม, วิศวกรรมโยธา, การเกษตร, และการปรับปรุงภูมิทัศน์

วัสดุที่ใช้ทำ geotextile ส่วนใหญ่ มักจะเป็น polyester (PET) หรือ polypropylene (PP) โดยทั่วไป แผ่นใยสังเคราะห์ ( Geotextile ) จะนิยมถูกผลิตใน 2 รูปแบบ คือ

  1. แผ่นใยสังเคราะห์แบบถักทอ (Woven Geotextile) 
  2. แผ่นใยสังเคราะห์แบบไม่ถักทอ (Non-Woven Geotextile)

ด้วยกรรมวิธีการผลิตแบบเข็มบดอัด (Needle punch) สามารถรับแรงดึงได้สูง ยืดหยุ่นตัวสูง ฉีกขาดยาก และสามารถระบายน้ำได้ดี

 

หน้าที่ของ Geotextile

1. การกรอง (filtration)
เนื่องจากน้ำสามารถซึมผ่านได้ geotextile จึงถูกใช้ในการกรอง เช่น การกรองดินไม่ให้ผ่านไปยังบริเวณอื่น ในขณะที่น้ำและความชื้นยังสามารถผ่านได้

2. การแยกชั้น (separation)
Geotextile มักถูกใช้ในการแยกชั้นระหว่าง 2 สิ่ง เช่น ชั้นหินและชั้นดิน หรือชั้นดินที่มีลักษณะต่างกัน เป็นต้น

3. การระบาย (drainage)
Geotextile ยังถูกใช้ในการระบายน้ำหรือแก๊ส โดยมักถูกใช้ร่วมกับอุปกรณ์อื่น เช่น แกนระบายน้ำ (drainage core) และท่อเจาะรู (perforated pipe)

4. การปกป้อง (protection)
Geotextile ยังถูกใช้ในการปกป้องวัสดุอื่นๆได้ดี เช่น แผ่น geomembrane หรือแผ่นคอนกรีต

5. การเสริมความแข็งแรง (reinforcement)
การเสริมความแข็งแรงให้กับสิ่งอื่น เช่น ชั้นดิน ด้วยการเพิ่มความสามารถในการรับน้ำหนัก หรือช่วยดูดซับแรงเสียดทานในจุดที่เกิดการเสียดสีได้

คำนวณพื้นที่ฟิล์มปูบ่อเลี้ยงสัตว์น้ำ

ระบุขนาดเป็นเมตร

เมตร
เมตร
เมตร

โครงการอ้างอิง